ชักโครก หรือโถสุขภัณฑ์ ถือว่าเป็นอุปกรณ์หนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากในการใช้ชีวิตโดยจะเป็นอุปกรณ์หนึ่งที่ขาดไปไม่ได้เลยจากห้องน้ำ ซึ่งจะต้องมีการคำนึงถึงเป็นพิเศษด้วยเช่นกัน เนื่องจากว่าอุปกรณ์ในห้องน้ำที่ใช้นั้นจะมีการใช้เป็นประจำทุกวัน โดยชักโครก จะมีมูลค่าประมาณหลักร้อยจนถึงหลักแสนกันเลยทีเดียวเนื่องจากชักโครก 1 ชิ้น จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่มีความหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นในส่วนความสวยงาม ระบบในการทำงาน ขนาดที่มีผลต่อความสะดวกสบาย ความพึงพอใจของลูกค้าที่ใช้ ซึ่งถ้าหากเลือกไม่ดี ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน ก็อาจจะเป็นปัญหาต่อท่าน วันนี้เราขอพาทุกท่านมาทำความรู้จักกับชักโครกให้มากขึ้นกว่าเดิมว่าชักโครกแต่ละประเภทมีประเภทอะไรบ้าง มีการทำงานอย่างไร แตกต่างกันมากน้อยแค่ไหน เพื่อที่จะเป็นตัวเลือกมาใช้ในครัวเรือนของท่านอย่างคุ้มค่าและมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น
ชักโครกมีกี่ประเภท
การแบ่งตัวชักโครก ซึ่งจะแบ่งได้เป็นแบบนั่งยอง นั่งราบ ซึ่งในส่วนของแบบนั่งยองก็จะได้พบเห็น ตามวัด ปั๊มน้ำมัน เนื่องจากเมื่อก่อนใช้ชักโครกแบบนั่งยองนั่นเองซึ่งการใช้โถประเภทนี้ก็ไม่ค่อยมีความสะดวกเท่าโถชักโครกแบบนั่งราบ ไม่เหมาะสมกับผู้ที่มีอายุ เรื่องข้อเข่า แถมยังทำให้ห้องน้ำดูไม่สะอาด และเปรียบอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้ โถชักโครกแบบนั่งราบ ได้รับความนิยม เป็นอย่างมาก
โถชักโครกจะประกอบไปด้วยกัน 3 ประเภท คือ
1. แบบใช้น้ำตักราด
โถชักโครกแบบใช้น้ำตักราด จะเป็นโถที่จะต้องรองน้ำไว้เพื่อที่จะใช้ ภาชนะตักขึ้นมาราด จึงทำให้พื้นเปียก แต่ก็ยังนิยมใช้ในตามวัด ปั๊มน้ำมัน ซึ่งโถชักโครกแบบใช้น้ำตักราดไม่เหมาะสม กับผู้สูงอายุ ไม่เหมาะสมกับผู้ป่วยและผู้พิการ
2. แบบฟลัชวาล์ว
โถชักโครกแบบฟลัชวาล์ว ถือว่าเป็นอุปกรณ์ ที่อาศัยแรงดันของน้ำ โดยจะมีการใส่ในท่อประปา ได้ออกแบบมาอย่างมาตรฐาน นำมาใช้ในโรงแรม โรงภาพยนตร์ ห้างสรรพสินค้า มากกว่าใช้ตามบ้านพักทั่วไป ซึ่งถ้าใช้ในแรงดันน้ำต่ำ ก็จะทำให้การชะล้างมีประสิทธิภาพ ไม่รั่วซึม โดยสำหรับ โถชักโครก 20 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ไม่ต้องรอเติมแทงค์น้ำ อีกด้วย สามารถกดชำระต่อเนื่องได้เลย แต่อาจจะมีข้อเสียอยู่นิดเดียวก็คือเวลากดชำระแล้วจะมีเสียงดัง
3. แบบฟลัชแทงค์
โถ ชักโครก แบบฟลัชแทงค์ ลักษณะนี้จะมีแทงค์น้ำที่เก็บน้ำไว้ด้านหลัง เพื่อที่จะให้ท่านได้กดชำระได้อย่างสะดวก โดยจะมีการนิยมใช้ในส่วนของบ้านพัก โรงแรมที่มีขนาดเล็ก ร้านอาหาร อาคารขนาดเล็กต่างๆเป็นต้น โดยจะมีการแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1. แบบชิ้นเดียว (One Piece) โดยลักษณะนี้จะมีการออกแบบให้ถังพักน้ำ LED จะเป็นถังแบบนั่งรวมกันเป็นชิ้นเดียวกัน ซึ่งลักษณะนี้จะมีข้อดีก็คือมีระบบในการทำงานที่เงียบ จะไม่มีน้ำที่รั่วซึม สามารถติดตั้งได้ง่ายๆ มีรูปแบบสวยงาม แต่ราคาจะมีความแตกต่างและสูงกว่า 2 ชิ้นหากมีการชำรุดจะมีการเปลี่ยนใหม่ทั้งใบ
2. แบบสองชิ้น (Two Piece) ทำให้ขั้นตอนในการติดตั้งจะมีความยุ่งยาก อาจจะทำให้มีสิ่งสกปรกนั้นตกค้างตามโดยต่อ การทำความสะอาดลำบากเมื่อใช้ไปนานก็อาจจะรั่วซึม แต่จะมีราคาถูกกว่าชิ้นเดียว
ควรทราบอะไรก่อนการเลือกโถชักโครก
1. เช็คในส่วนของตำแหน่งรูท่อน้ำเสีย ที่ช่างประปาได้ทำการเดินท่อไว้ในพื้นที่ของห้องน้ำ ลักษณะจะเป็นท่อที่ขนาดใหญ่ ซึ่งให้ท่านได้ทำการเช็คจุดศูนย์กลางว่าห่างจากผนังเป็นจำนวนเท่าไร เพื่อที่จะเลือกซื้อชักโครกได้ตรงตามในส่วนของระยะท่อพอดี
2. ปัจจุบันในส่วนของคอนโด และโรงแรมหลายๆที่ จะมีการใช้โถชักโครก แบบแขวนผนัง หรืออาจจะเป็นแบบท่อออกผนัง ซึ่งในส่วนของการเลือกโถชักโครกท่านจะต้องเช็คให้ดีเสียก่อน ในส่วนของระยะเฉพาะก็คือความสูงของท่อควรที่จะห่างกับชักโครกรุ่นนั้นๆเท่าไร หากระยะไม่ตรงกันก็ไม่สามารถที่จะติดตั้งได้
3. ก่อนที่ท่านจะทำการซื้อชักโครก ท่านควรจะทำการลงนั่งกับโถชักโครกที่ท่านเลือกไว้เพื่อให้ตรงกับความเหมาะสมและความต้องการของท่านเนื่องจากบางคนอาจจะชอบชักโครกที่นั่งสูง แต่บางคนอาจจะชอบชักโครกที่นั่งต่ำ และบางคนอาจจะชอบฝารองนั่งที่มีการเตรียมเพื่อที่จะรับสะโพกได้นั่งอย่างสบายขึ้น
ชักโครก ที่ดี โดยจะต้องมีลักษณะที่มีขนาดของคอห่านที่มีลักษณะใหญ่ มีแอ่งที่ช่วยในการกันกลิ่นที่ลึก เพลงจะต้องมีขนาดของพื้นผิวน้ำที่กว้าง เพื่อช่วยให้ท่านได้ชำระล้างที่ดีขึ้น ช่วยป้องกันในส่วนของกลิ่นย้อนกลับ เละคราบสิ่งปฏิกูลที่ติดภายในโถชักโครกของท่านอีกด้วย
อย่างไรก็ตามก่อนที่ท่านจะทำการตัดสินใจในการซื้อชักโครกแต่ละครั้งท่านควรที่จะเช็คในส่วนของขนาดว่ามีขนาดตรงกับท่อภายในบ้าน และตรงกับขนาดของท่อประปาภายในบ้านหรือเปล่าเพื่อที่จะทำการเชื่อมต่อ และจะต้องเช็คในส่วนของระยะในการวางท่อน้ำทิ้งที่มีความเหมาะสมกับสภาพภายนอกของบ้านโดยจะต้องไม่มีร่องรอยที่มีความแตกร้าว หรือเป็นสนิมอันขาด เพื่อที่จะให้ท่านได้รับชักโครกที่มีประสิทธิภาพและท่านสามารถที่จะใช้งานได้อย่างสบายใจอีกด้วย
อ่านบทความ ทริคการตกแต่งบ้านด้วยกระจก
อ้างอิ้ง www.pixabay.com